top of page
Voice of Andaman
อันดามัน
ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจและการเมืองอาณาบริเวณชายฝั่งอันดามัน ของประเทศไทย
เอเชีย
ความเปลี่ยนแปลงของภูมิศาสตร์การเมือง ในเอเชีย
ไทย
ทิศทางการพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมือของรัฐไทย
ก้าวผ่านความทรงจำ
“เราติดอยู่บนเนินที่เรือสีฟ้าถูกพัดมาเกยตื้น คนแน่นมาก เดินเบียดกัน เพราะน้ำ ล้อมหมดแล้ว ดูจากสีหน้าแววตาเขา มันเต็มไปด้วยความกลัวถึงที่สุด
ก้าวผ่านความทรงจำ
สึนามิ ปี 2547 นับเป็นภัยพิบัติครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ และเป็นความทรงจำที่ยากจะลืมเลือน สำหรับผู้ประสบภัย
ทวนวิถีกะปิทุ่งออง 20 ปี หลังสึนามิ
’เคย’ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเสียง ‘กะปิทุ่งออง’ หายไปพร้อมกับป่า แม้วันนี้ลานตากกะปิและเรือช้อนเคย บอกให้รู้ว่าป่าชายเลนกลับคืนสู่ความสมบูรณ์
20 ปี คลื่น 7 ชั้น คลื่นความรู้สู้ภัยพิบัติยุคโลกรวนทะเลร้อน (2)
ทำไมสหประชาชาติให้ความสำคัญต่อความรู้นอกตำราวิทยาศาสตร์แบบตะวันตก เพื่อจัดการ กับปัญหาโลกร้อนหรืออยู่กับยุคภัยพิบัติ
20 ปี คลื่น 7 ชั้น คลื่นความรู้สู้ภัยพิบัติยุคโลกรวนทะเลร้อน
ชาวเล มอแกนก็ไม่รู้จักสึนามิ พวกเขารู้จักคลื่นน้ำที่มีพลังรุนแรงที่พึงหลีกหนีให้พ้น เรียกชื่อว่า ละบูน หรือ คลื่น 7 ชั้น
Photo Essay : คนกับเคย
ชมวิถีการผลิตแบบทำมือทุกขั้นตอนของกะปิของทุ่งออง ที่ได้ชื่อว่าหนึ่งในกะปิที่ดีและอร่อยทึ่สุด กลับมาอีกครั้งหลังสึนามิ
แลนด์บริดจ์ กับเศรษฐกิจชุมชน
เฉพาะพื้นที่เพื่อพัฒนาท่าเรือน้ำลึกที่อ่าวอ่างและการถมทะเลไม่น้อยกว่า 7,000 ไร่
ผลกระทบแลนด์บริดจ์ต่อการท่องเที่ยวชุมชน
การท่องเที่ยวจัดการโดยชุมชนที่ อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง กับผลกระทบจากการก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกในโครงการแลนด์บริดจ์...
แลนด์บริดจ์ กับ 6 มรดกโลก
ชาวชุมชนหาดเคยใกล้กับอ่าวอ่าง ประกอบอาชีพหากุ้งเคยใช้ทำกะปิ สินค้าขึ้นชื่อของจังหวัดระนอง แนวทางการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ในพื้นที่โครงการแลน...
แลนบริดจ์ ชุมพร-ระนอง : ความคุ้มค่าและความเสี่ยง
แลนด์บริดจ์ โครงการมูลค่าหนึ่งล้านล้านที่กำลังจะเริ่มดำเนินการในปีหน้า( พ.ศ.2568) นี้ ท่ามกลางความหวังถึงการฟื้นฟูเศรษฐกิจจากภาวะตกต่ำ...
ตาเล ตอนซูเปอร์มาเก็ตลับกับพลังเปลี่ยนโลก
พบความหลากหลายของอาหารในซูเปอร์ลับกับชาวมอแกลนทับตะวัน-บนไร่
สำรวจเส้นทาง แลนด์บริดจ์ ชุมพร -ระนอง
โครงการหนึ่งล้านล้านบาท ที่จะเริ่มต้นขึ้นในปีหน้านี้ เพื่อเชื่อมสองฝั่งทะเล ยังมีข้อโต้แย้งในประเด็นความคุ้มค่าและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
กำเนิดการเชื่อมทะเล :จากคอคอดกระสู่แลนด์บริดจ์ 1.1 ล้านล้านบาท
ย้อนรอยหาจุดตั้งต้นความพยายามในการเดินทางลัดข้ามสองฝั่งทะเลของคาบสมุทรมลายูเพื่อการค้าทางเรือที่เร็วขึ้น มีมานานนับตั้งสมัยอยุธยาและยุคอา...
ตาเล อาณาจักรใต้รอยเท้า
ชาวมอแกลนพาไปเยี่ยมชมอาณาจักรที่ซ่อนตัวเงียบกริบอยู่ใต้ฝ่าเท้าของเรา
ตาเล EP1 ผู้อ่านน้ำจำลม อ่านฟ้าจำดาว
ผู้ “อ่านน้ำจำลม อ่านฟ้าจำดาว” เจ้าของรอยเท้าแรกบนชายฝั่งอันดามัน ผู้สร้างเรือลำเล็ก แล่นฝ่าคลื่นลม ไปทั่วพื้นทวีป...
ผู้ “อ่านน้ำจำลม อ่านฟ้าจำดาว”
ปี 2547 เรื่องราวของ ‘ชาวเล’ เป็นที่รู้จักมากขึ้น หลังเกิดภัยพิบัติคลื่นยักษ์สึนามิ ถล่มภาคใต้ฝั่งอันดามัน เรื่องเล่าถึงผู้รอดชีวิตจากภัย...
สายสัมพันธ์จีนฮกเกียน : กำเนิดเมืองเหมืองแร่ชายฝั่งอันดามัน
3) ความฝันและความหวังกลางทะเลลึก ตอนที่ 1 "อย่าพิงราวระเบียงเหม่อมองไปข้างหน้าคนเดียวเลย มีแต่จะทำให้หวนคิดถึงแผ่นดินไพศาลที่จากมา โอ้...
ปักหมุดหมายเศรษฐกิจฐานราก สร้างชุมชนผ่านการท่องเที่ยว
สำรวจเพื่อปักหมุด กลุ่มท่องเที่ยวโดยชุมชน กลุ่มบุคคล วิสาหกิจเพื่อสังคม วิสาหกิจชุมชน กิจกรรมเศรษฐกิจฐานราก เศรษฐกิจชุมชนและธุรกิจท้องถิ่...
ปลดหนี้ ด้วยวิถีชุมชน
ในปี พ.ศ.2565 ผลกระทบจากการระบาดของโควิด19 ตัวเลขหนี้สินครัวเรือนทั้งประเทศไทย ขึ้นสูงเป็นประวัติการณ์ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ...
สายสัมพันธ์จีนฮกเกียน : กำเนิดเมืองเหมืองแร่ชายฝั่งอันดามัน
ตอนที่ 2 จีนบาบ๋า ชาวจีนที่มาบุกเบิกดินแดนชายฝั่งทะเลอันดามัน นอกเหนือจากชาวจีนอพยพแล้ว ยังมีกลุ่มที่เรียกว่า “บาบ๋า”...
จากเฉวียนโจวสู่สยาม: แผนที่เส้นทางอพยพของชาวจีนฮกเกี้ยน
เส้นทางอพยพของชาวจีนฮกเกี้ยน เริ่มจากท่าเรือเมืองเฉวียนโจว มณฑลฝูเจี้ยน ซึ่งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน สู่ปีนัง...
สายสัมพันธ์จีนฮกเกียน : กำเนิดเมืองเหมืองแร่ชายฝั่งอันดามัน
ตอนที่ 1 ‘ปีนัง’ ประตูสู่ ‘หนานหยาง’ ท่าเรือในปีนัง ปี 1910 ภาพถ่ายโดย Kleingrothe, C.J. จาก Leiden University Libraries Digital...
bottom of page